วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 6


บันทึกการเรียนการสอน  ครั้งที่ 6

วัน  อังคาร  ที่  23  กันยายน  พ.ศ. 2557



 นื้อหา / กิจกรรม ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 
 1.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
 2.เด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
 ซึ่งอาจารย์ได้เล่าเเละอธิบายเนื้อหาความรู้ต่างๆประสบการณ์เดิมหรือเหตุการณ์ที่อาจารย์เคยพบมาเล่าให้นักศึกษาได้ฟัง   

 สรุปความรู้ที่ได้รับเป็น Mind Map ได้ดังนี้ 









อาจารย์ให้ชมคลิปวีดีโอ คนพิการที่มีหัวใจเป็นนักสู้ มีกำลังใจที่ดีจากคนรอบข้างหรือครอบครัวที่ทำให้เขาใช้ชีวิตเหมือนคนปกติ

 เรน่ามาเรีย เป็นนักกีฬาว่ายน้ำ เขียนหนังสือ 
รวมถึงนักร้อง (ซึ่งเป็นผู้ที่ไม่ย่อท้อต่อชีวิต)


นิค วูจีซิค เป็นนักพูดที่มีความสามารถสูง


 การนำไปประยุกต์ใช้ 


1. เรียนและเข้าใจเรื่องของการปฐมพยาบาลเบื้องต้นกับเด้กที่เป็นโรคลมชักอย่างถูกวิธีและปลอดภัย
2. การความรู้ไปใชัในการจักิกรรม 
3. การเรียนจากการสังเกตพฤติกรรมเเล้วเล่าเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพเศษ

การประเมินผล
  • ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวาล เเต่งรียบร้อย และให้ความร่วมมือในการเรียบการสอนในชั้นเรียนของอาจารย์
  • ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวาล เเต่งรียบร้อย เพื่อนทุกคนตั้งใจเรียน และมีส่วนร่วมกับเนื้อหาการเรียการสอนของอาจารย์ 
  • ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนโดยการบรรยาย พร้อมกับการเล่นบทบาทสมมติเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น มีการเล่าประสบการณ์ต่างๆ และมีวิดีโอประกอบการสอน ทำให้นักศึกษามีเข้าใจกับเนื้อหามากขึ้น

บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 5


บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 5

วัน  อังคาร ที่  16  กันยายน  พ.ศ. 2557


   เนื้อหาการสอนวันนี้ อาจารย์สอนเรื่องเด็กที่มีความต้องการพิเศษ พร้อมเเจกเอกสารประกอบการสอนเเละเปิด PowerPoint พร้อมบรรยายเนื้อหาความรู้ โดยมีคลิปให้นักศึกษาดู เเละอาจารย์ได้เล่าเเละเเสดงลักษณะประสบการณ์ที่เคยกับเห็นให้นักศึกษาได้ดูเเละเข้าใจถึงสาเหตุความบกพร่องของเด็กพิเศษ 
 สรุปความรู้ที่ได้รับ 





การนำไปประยุกต์ใช้

1.ได้เรียนรู้เเละเข้าใจถึงลักษณะ พฤติกรรมของเด็กพิเศษมากขึ้น
2. การช่วยเหลือดูเเลเด็กได้ถูกวิธี
3. การจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กได้เรียนรู่ผ่านการเล่นอย่างเหมาะสม
4. การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก

                                                                การประเมินผล
  • ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย สนใจและตั้งใจกับการเรียนการสอน
  • ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย เพื่อนๆตั้งใจเรียน เพื่อนมีการแสดงคิดเห็นตอบสนองกับการเรียน เช่น การซักถาม และการแสดงความคิดเห็น 
  • ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนโดยการบรรยาย พร้อมกับการเล่นบทบาทสมมติ การเล่าประสบการณ์ต่างๆ วิดีโอประกอบการสอน การใช้น้ำเสียงที่น่าสนใจ 




วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 4


บันทึกการเรียนการสอน  ครั้งที่ 4

วัน  อังคาร  ที่  9  กันยายน พ.ศ. 2557

 การเรียนการสอนวันนี้นำเสนองานกลุ่ม ที่เกี่ยวกับเด็กพิเศษเเต่ละประเภท ซึ่งมี 7 ประเภทดังนี้

1. เด็กซีพี :   Cerebral Palsy
2. เด็กแอลดี:  ID learning disability
3. เด็กดาวน์ซินโดรม:  Downsyndrome
4. เด็กสมาธิสั้น:  Attention Deficit Hyperactivity  Disorder  ADHD
5. เด็กปัญญาเลิศ: Gifted child
6. เด็กออทิสติก:  Autistic
7. เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์: Children  With  Behavioral and  Emotional Disorders


 สรุปความรู้ที่ได้รับ 




การนำไปประยุกต์ใช้ 

สามารถเข้าใจเเละเรียนรู้ถึงสาเหตุความบกพร่องของเด็กเเต่ละประเภทมากขึ้น เพื่อจะได้กระตุ้นเเละส่งเสริมทักษะพัฒนาการตรงตามเป้าหมาย
 สามารถจัดการเรียนการสอนหรือกิจกรรมที่ง่ายๆที่เด็กสามารถทำได้ให้เด็กได้เรียนรู้เเละพัฒนาตนเองโดยมีคุณครูหรือผู้ใกล้ชิดคอยดูเเลช่วยเหลือ
 การให้ความรัก ความอบอุ่นเเละให้ความสนใจกับเด็ก คอยพูดคุย  หรือเล่านิทานให้เด็กฟัง เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์/จิตใจ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีและเป็นมิตรกับคนรอบข้าง



                                                                 การประเมินผล


  • ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ให้ความร่วมมือในชั้นเรียน ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์
  • ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อยเพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน และมีส่วนร่วมในเนื้อหาการเรียนการสอน
  • ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ใช้เทคนิคการสอนโดยการบรรยาย พร้อมกับการเล่นบทบาทสมมติเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น และมีการเล่าประสบการณ์ต่างๆให้นักศึกได้ฟัง และมีวิดีโอประกอบการสอนให้นักศึกษาได้ดู






บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 3



บันทึกการเรียนการสอน  ครั้งที่ 3

วัน อังคาร  ที่  2  กันยายน พ.ศ. 2557

   วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน อาจารย์ให้เข้าร่วมกิจกรรม " Think  Fculty " โครงการศึกษาศาสตร์วิชาการซึ่งจะมีการเซ็นชื่อเข้าร่วมงานพร้อมเเจกบัตรนิทรรศการคนละ1 เล่มเล็ก จะมีชื่อซุ้มของเเต่ละสาขาที่มาให้ความรู้ต่างๆพร้อมกิจกรรมการเล่นเกมให้ร่วมสนุกและสุดท้ายก็เป็นใบประเมินการจัดงาน






การคิดอย่างมีวิจารณญาณของสาขาการศึกษาปฐมวัย
ที่ได้จัดขึ้นในงานศึกษาศาสตร์วิชาการ


การคิดอย่างมีวิจารณญาณ  หมายถึง  กระบวนการคิดที่ใช้เหตุใช้ผลพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ  โดยการศึกษาข้อมูล  หลักฐาน  แยกแยะข้อมูลว่าข้อมูลใดคือ ข้อเท็จจริง ข้อมูลใดคือความคิดเห็น  ตลอดจนพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล  แล้วตั้งสมมติฐานเพื่อหาสาเหตุของปัญหา   และสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้
การนำไปประยุกต์ใช้

1. นำกระบวนการคิดและเนื้อหาความรู้จากสาขาต่างๆมาปรับใช้ในการเรียนการสอนได้
2. สามารถนำองค์ความรู้ของเเต่ละสาขามาบรูณาการปรับใช้ในการจัดกิจกรรมต่างๆ